Tuesday, 18 March 2014

RunAsDate

www.nirsoft.net
RunAsDate is a small utility that allows you to run a program in the date and time that you specify

Overload Devices

http://www.lpc.rmutl.ac.th/elcen/elearning/motorcontrol/module6/overload.html

 หลักการ
       ในสภาพการใช้งานมอเตอร์จะต้องเกิดความร้อนขึ้น
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความร้อนที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากสาเหตุ
หลายประการเช่น อุณหภูมิแวดล้อม กระแสเนื่องจากการ
ใช้งาน กระแสเกินเนื่องจากมอเตอร์รับภาระมากเกินไป
หรือภาวะโหลดเกิน (Overload) สาเหตุเหล่านี้ทำให้มอเตอร์
เกิดความเสียหายขึ้นได้ วิธีการป้องกันมอเตอร์โดยการใช้
โอเวอร์โหลดจึงเป็นวิธีการที่ใช้ในการป้องกันมอเตอร์ที่
นิยมใช้กันทั่วไป
จุดประสงค์
1. บอกประเภทของความร้อนที่เกิดขึ้นกับมอเตอร์ได้ถูกต้อง
2. บอกประเภทของโอเวอร์โหลดได้ถูกต้อง
3. อธิบายการทำงานของโอเวอร์โหลดได้ถูกต้อง
4. บอกเปอร์เซ็นต์การปรับตั้งโอเวอร์โหลดได้ถูกต้อง
5. คำนวณค่ากระแสของการปรับตั้งโอเวอร์โหลดได้ถูกต้อง
คำแนะนำ :  1. ศึกษาจากเนื้อหาด้านล่างนี้
                          2. 
ทำแบบฝึกหัดประจำโมดูลที่ 6
                          3. ทำแบบทดสอบท้ายโมดูลเพื่อประเมินตนเองในการเข้าศึกษาในโมดูลที่ 7 ต่อไป

6.1 ความร้อนที่เกิดขึ้นกับมอเตอร์
     ความร้อนที่เกิดขึ้นกับมอเตอร์มีสาเหตุหลายประการ
เช่น


- จำนวนกระแสของโหลด
- ระยะเวลาของการมีโหลดเกิน
- ความถี่บ่อยในการสตาร์ทมอเตอร์
- เวลาที่ใช้ในการสตาร์ทจนมอเตอร์ถึงความเร็ว
   สูงสุด
- อุณหภูมิแวดล้อม (Ambient temperature)
- ความสามารถในการระบายความร้อน
- ช่วงเวลาในการทำงาน (Duty cycle)
     ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจะต้อง
ทำการติดตั้งโอเวอร์โหลดที่มีขนาดเหมาะสมใน
อุปกรณ์สตาร์ทมอเตอร์ เพื่อทำการป้องกันมอเตอร์
จากการเกิดโอเวอร์โหลด หรือความร้อนเกินพิกัด
ซึ่งจะส่งผลต่ออายุการใช้งานของมอเตอร์ได้


6.2 โอเวอร์โหลดทำงานด้วยความร้อน(Thermal Overload Relay)
     โอเวอร์โหลดประกอบด้วยขดลวดความร้อน
(Heater) พันอยู่บนแผ่นไบเมทัล (Bimetal) ซึ่งทำ
จากโลหะ 2 ชนิดเชื่อมติดกันโก่งตัวได้เมื่อเกิด
ความร้อนขึ้น ขดลวดความร้อนเป็นทางผ่านของ
กระแสจากแหล่งจ่ายไปยังมอเตอร์ เมื่อกระแส
ที่ไหลเข้ามอเตอร์มีค่าสูง ทำให้ชุดขดลวดความร้อน
เกิดความร้อนสูงขึ้น เป็นผลให้แผ่นไบเมทัลร้อน
และโก่งตัวดันให้หน้าสัมผัสปกติปิดของโอเวอร์โหลด
ที่ต่ออนุกรมอยู่กับวงจรควบคุมเปิดวงจร ตัดกระแส
ออกจากคอล์ยแม่เหล็กของคอนแทกเตอร์ จึงทำให้
หน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) ของคอนแทกเตอร์
ปลดมอเตอร์ออกจากแหล่งจ่ายเป็นการป้องกัน
มอเตอร์จากความเสียหายได้

     โอเวอร์โหลดรีเลย์มีทั้งแบบธรรมดา คือ เมื่อ
แผ่นไบเมทัลงอไปแล้วจะกลับมาอยู่ตำแหน่ง
เดิม เมื่อเย็นตัวลงเหมือนในเตารีด กับแบบที่มี
รีเซ็ท (Reset) คือ เมื่อตัดวงจรไปแล้ว หน้าสัมผัส
จะถูกล็อกเอาไว้ ถ้าต้องการจะให้วงจรทำงานอีกครั้ง
ทำได้โดยกดที่ปุ่ม Reset ให้หน้าสัมผัสกลับมาต่อ
วงจรเหมือนเดิม


สัญลักษณ์ของโอเวอร์โหลดรีเลย์แบบมี Reset

   ลักษณะเมื่อเกิดการโอเวอร์โหลดหน้าสัมผัส
จะเปิดออกและจะถูกล็อกเอาไว้ ถ้าต้องการให้
ต่อวงจรต้องกดที่ปุ่ม Reset อีกครั้ง

    โดยปกติแล้วการปรับตั้งขนาดกระแสโอเวอร์-
โหลด มีค่าเท่ากับ 125 % ของกระแสโหลดเต็มพิกัด
(Full Load Current หรือ FLA) ของมอเตอร์ เช่น
มอเตอร์มีกระแสโหลดเต็มพิกัดเท่ากับ 40 แอมป์
ดังนั้นค่าสูงสุดของการปรับตั้งโอเวอร์โหลดมีค่า
เท่ากับ
10 x 1.25 = 12.5 แอมป์ (A)
     โอเวอร์โหลดโดยทั่วไปมีปุ่มปรับตั้งพิกัดกระแส
ให้ทำการปรับโดยใช้ไขควงปรับด้านหน้าของ
โอเวอร์โหลด เช่น 9, 10, 11, 14, 16, 18 แอมป์
เป็นต้น (ดังรูป)


รูปโอเวอร์โหลดรีเลย์ที่เป็นส่วนหนึ่งของชุดสตาร์ทมอเตอร์

รูปโอเวอร์โหลดรีเลย์ในมุมมองต่าง ๆ

รูปแสดงปุ่มปรับตั้งกระแสทริปของโอเวอร์โหลดรีเลย์

คลิ๊กเพื่อดูการทำงาน
รูปโครงสร้างภายในของโอเวอร์โหลดรีเลย์
(ใช้เมาส์วางบนรูปภาพ และคลิ๊กเพื่อดูการทำงาน)

Relay pole type

SPST – Single Pole Single Throw. These have two terminals which can be connected or disconnected. Including two for the coil, such a relay has four terminals in total. It is ambiguous whether the pole is normally open or normally closed. The terminology "SPNO" and "SPNC" is sometimes used to resolve the ambiguity.
SPDT – Single Pole Double Throw. A common terminal connects to either of two others. Including two for the coil, such a relay has five terminals in total.
DPST – Double Pole Single Throw. These have two pairs of terminals. Equivalent to two SPST switches or relays actuated by a single coil. Including two for the coil, such a relay has six terminals in total. The poles may be Form A or Form B (or one of each).
DPDT – Double Pole Double Throw. These have two rows of change-over terminals. Equivalent to two SPDT switches or relays actuated by a single coil. Such a relay has eight terminals, including the coil.

Frank Detchokul's photo.

Can I run a 50hz motor on 60hz

The responses to can I run a 50hz motor on 60hz and a 60hz motor on 50hz are incorrect. Motors are designed to operate within a limited voltage and frequency variation. Voltage variation at motor nameplate frequency must be within plus or minus 10percent and frequency variations at motor nameplate voltage must be within plus or minus 5 percent.The combined variation of voltage and frequency must be limited to the arithmetic sum of 10percent. What is important is the flux density ratio, which is the ratio of line voltage over line frequency. FDR for a 460/3/60 is 7.67vhz. If this motor was to operate on 380/3/60 which has a FDR of 6.33 the percent variation is 17percent which is above the 10 percent arithmetic variation allowed so a 460-3-60 motor could not operate on 380-3-60. Again if a European 415-3-50 motor with an FDR of 8.3vhz was to operate on 460-3-60 with a FDR of 7.66vhz this would be okay as the percent variation is 8.35 percent which is below the 10 percent allowable arithmetic variation. If the motor was to operate on 400-3-60 with a FDR of 6.66vhz the variation is 25 percent so the motor could not be used as the variation is way above the 10 percent maximum arithmetic variation. If the flux density ratio is not checked and the variation is above 10 percent, then undoubtedly the motor may well run above its allowable temperature rise for the insulation class and speed plus pull up plus pull out torque plus PF plus slip plus FLC will all be effected adversely. Do not listen to anyone who advises 50hz motors can run on 60hz or 60hz can run on 50hz, check the flux density ratio. 

Reply : You are correct, the important parameter is the flux density and provided that this is equal to the design flux density, there is no problem. V/Hz for a 460 Volt 60Hz motor equals 7.67 The V/Hz at 380V 50Hz is 7.6 so there is no problem running the 460V 60Hz motor on 380V 50Hz provided that the power is reduced by the speed ratio.

Overload relay selection

เลือกโอเวอร์โหลดรีเลย์อย่างไร ให้เหมาะกับมอเตอร์ที่เราใช้งาน
มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของเครื่องจักรส่วนใหญ่ ในโรงงานอุตสาหกรรมดังนั้นหากมีความเสียหายเกิดขึ้นกับมอเตอร์คงไม่ใช่เรื่องดีแน่ ดังนั้นการเลือกอุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อปลดวงจรก่อนที่มอเตอร์จะเสียหาย
วงจรควบคุมมอเตอร์ โดยทั่วไปจะติดตั้งเครื่องป้องกันกระแสลัดวงจร ซึ่งอาจจะเป็นฟิวส์(Fuses) หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) ซึ่งการเริ่มเดินมอเตอร์โดยตรง (Direct On Line Starter) จะมีกระแสเริ่มเดินสูงมาก ดังนั้นการเลือกใช้ฟิวส์หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์จึงต้องมีพิกัดกระแสที่สูงขึ้น เพื่อป้องกันการปลดวงจรจากการเริ่มเดินมอเตอร์ และหากมอเตอร์ทำงานเกินขนาด จะทำให้เกิดความร้อนสะสมเพิ่มสูงขึ้น แต่เครื่องป้องกันการลัดวงจรจะไม่สามารถป้องกันครอบคลุมในส่วนนี้ได้ จึงต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันโหลดเกิน (Overload Relay) ช่างและวิศวกรในประเทศไทยส่วนใหญ่เรียกทับศัพท์ว่า โอเวอร์โหลดรีเลย์
สิ่งที่ต้องรู้ในการเลือกโอเวอร์โหลดรีเลย์
1. ชั้นการใช้งานมอเตอร์ ซึ่งแบ่งตามช่วงเวลาการเริ่มเดินของมอเตอร์ ตามมาตรฐาน IEC มีการแบ่งชั้น (Class) ของโอเวอร์โหลดรีเลย์ชนิดความร้อน เป็นชั้นต่างๆเพื่อให้เหมาะสมกับวิธีการเริ่มเดินมอเตอร์และโหลดที่ใช้งาน  สามารถแบ่งได้ดังตารางที่ 1
ตารางที่1 ชั้นของโอเวอร์โหลดรีเลย์ ตามมาตรฐาน IEC


การเลือกใช้งานควรเลือกชั้นที่ต่ำที่สุด คือ Class 10 เพื่อป้องกันมอเตอร์เสียหายได้เร็วที่สุด
Tips การปรับตั้งค่ากระแสโอเวอร์โหลด ควรปรับตั้งเริ่มต้นตามที่กำหนดในตารางก่อน แต่ในการติดตั้งใช้งานจริง หากโอเวอร์โหลดรีเลย์ปลดวงจรเมื่อเริ่มเดินมอเตอร์ให้เพิ่มร้อยละการปรับตั้งได้ แต่ไม่เกินค่าสูงสุดที่ยอมให้ปรับตั้ง

2. ช่วงปรับตั้งกระแสโหลดเกินหรือกระแสโอเวอร์โหลด โอเวอร์โหลดรีเลย์ (Overload Relay) ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เป็นชนิดติดตั้งแยกจากตัวมอเตอร์ จะต่ออนุกรมอยู่ในวงจรมอเตอร์หรือผ่านหม้อแปลงกระแสกรณีที่เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่ การปรับตั้งกระแสโอเวอร์โหลดรีเลย์จะปรับตามประเภทมอเตอร์ซึ่งระบุรายละเอียดบนแผ่นป้ายประจำเครื่อง (Name Plate) ดังตารางที่2


ตารางที่3 NEMA Service Factor at Synchronous Speed (RPM) for drip proof motors
เซอร์วิสแฟคเตอร์ (Service Factor) คืออะไร?
เซอร์วิสแฟคเตอร์ (SF) คือค่าตัวเลขที่ใช้วัดการขับโหลดอย่างต่อเนื่อง ที่มอเตอร์สามารถใช้งานได้โดยปราศจากโอเวอร์โหลดหรือเกิดความเสียหายต่อมอเตอร์ ตามมาตรฐาน NEMA (National Electrical Manufacturers Association) ค่าเซอร์วิสแฟคเตอร์สำหรับมอเตอร์แบบปิดสนิท (Totally Enclosed) จะมีค่าเป็น 1.0 และค่า SF ของมอเตอร์แต่ละประเภทตามตารางที่ 3
เช่น มอเตอร์ขนาด 1 แรงม้า มีค่า SF 1.15 แสดงว่ามอเตอร์ตัวนี้สามารถขับโหลดได้อย่างต่อเนื่องที่ 1×1.15 เท่ากับ 1.15 แรงม้า

3. การรีเซ็ตหลังจากปลดวงจร ปัจจุบันมีให้เลือกใช้ทั้งรีเซ็ตด้วยมือ (Manual Resetting) และแบบอัตโนมัติ (Automatic Resetting) หรือบางรุ่นสามารถเป็นได้ทั้งสองแบบแล้วแต่การปรับตั้ง
ข้อดีของการรีเซ็ตด้วยมือคือหากมีการปลดวงจรด้วยโอเวอร์โหลดรีเลย์ มอเตอร์จะไม่สามารถกลับมาทำงานได้โดยอัตโนมัติ จะต้องมีเจ้าหน้าที่ไปสำรวจความผิดปกติของการปลดวงจรก่อน  หลังจากนั้นจะมากดที่ปุ่มรีเซ็ตที่ตัวโอเวอร์โหลดรีเลย์ ก่อนการเริ่มเดินมอเตอร์อีกครั้ง ข้อเสียคือต้องกดปุ่มรีเซ็ตก่อนเริ่มเดินมอเตอร์ใหม่อีกครั้ง


4. การติดตั้งต่อเนื่องจากหน้าสัมผัสแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Contactor) ผู้จำหน่ายส่วนใหญ่จะผลิตโอเวอร์โหลดรีเลย์แต่ละรุ่นตามช่วงกระแสที่ปรับตั้ง ซึ่งจะสอดคล้องกับการทนกระแสของหน้าสัมผัสแม่เหล็กไฟฟ้า หรือแมกเนติกคอนแทคเตอร์ เพื่อให้สามารถติดตั้งได้สะดวกโดยการต่อเชื่อมกับคอนแทคเตอร์ได้โดยที่ไม่ต้องเดินสายไฟ
- See more at: http://www.engineerfriend.com/2012/articles/lovato-2/#sthash.cMp9qc8W.dpuf

MIT open courseware

http://ocw.mit.edu/courses/mechanical-engineering/

http://ocw.mit.edu/index.htm

Solidworks; fixed utilities start up issues

Solidworks; fixed utilities start up issues: First try running Solidworks as Administrator and try to load again if that didnt works then run from start menu regsvr32 (Path where is located the Solidworks installation- ex: regsvr32 "C:\Program Files\SolidWorks Corp\SolidWorks\sldutils\swloadersw.dll" - ) and enter after that try again

Reply 4 # citrus55 start >> Run >> CMD(as admin) (press ENTER) input in windowed mode cd \ (press ENTER) cd "program Files \solidworks corp \solidworks \sldutils (press ENTER) regsvr32 "SwLoaderSw.dll" (press ENTER) appears successful registration message

Monday, 17 March 2014

Current Transformer

current transformer
ในกรณีที่โหลดที่นำมาต่อในวงจรกินกระแสมากจะต้องใช้สายไฟเส้นใหญ่ขึ้นเพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ดีขึ้น เนื่องจากสายไฟเส้นใหญ่จะมีความต้านทานน้อยกว่าสายไฟเส้นเล็ก ดังนั้นแอมมิเตอร์ที่นำมาต่อเพื่อวัดกระแสไฟฟ้าจะต้องมีขนาดใหญ่ตามไปด้วยจึงไม่เป็นที่นิยมนำแอมมิเตอร์มาต่ออนุกรมกับโหลดที่กินกระแสมากๆ

ดังนั้นจึงมีการนำอุปกรณ์ลดทอนกระแสเข้ามาใช้ในการวัดกระแสในโหลดที่กินกระแสมากซึ่งก็คือ current transformer(C.T.) ซึ่งจะมีลักษณะดังรูป หรืออาจจะมีรูปร่างแบบอื่นแล้วแต่ความเหมาะสมในการใช้งาน

การใช้งานจะต้องสอดสายไฟหรือบลัดบาร์เข้าไปในรูตรงกลาง โดยทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าจะไหลจากด้าน ไปด้าน ดังนั้นก็ควรจะสอดสายไฟให้ถูกด้านด้วยนะ จากนั้นก็นำแอมมิเตอร์ต่อเข้ากับขั้วที่ด้านบนของ Current Transformer

ที่ตัวของ Current Transformer(C.T.) จะมีอัตราการลดทอนกระแสไฟฟ้าระบุอยู่ เช่น Ratio 30/5A หมายความว่า ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านสายไฟจำนวน 30 A ตัวCurrent Transformerจะผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาที่ขั้วด้านบน  5A


การเลือกใช้แอมมิเตอร์เพื่อต่อเข้ากับ Current Transformer จะต้องเลือกชนิดที่มีอัตราการขยายกระแสไฟฟ้าเท่ากับอัตราการลดทอนกระแสไฟฟ้าของ Current Transformer นั้นๆ

เช่นใช้ C.T. ที่มี Ratio 30/5A  ก็ต้องใช้แอมมิเตอร์ Ratio 30/5A  ด้วย
นั่นคือถ้ากระแสเต็มสเกลของแอมมิเตอร์ 5A แสดงว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านสายไฟคือ 30 A

การวัดกระแสไฟ เฟส 
 
แบบที่ สวม C.T. ที่สายไฟแต่ละเส้น ซึ่งจะต้องใช้ C.T.  จำนวน ตัว

แบบที่ ทำการต่อ selector เข้ากับมิเตอร์ แล้วต่อ selector เข้ากับ C.T. ของ L1-L3 แบบนี้จะใช้ C.T. แค่ตัวเดียว อาศัย selector ในการเลือกแสดงผลว่าต้องการดูค่าของสายไหน


Determining the transformer ratio Ip/Is

• For the transformer primary current, select the standard value immediately higher than the current to be measured.
ie : current to be measured 1124 A. Select Ip = 1250 A
• For the secondary current, choose 1 A or 5 A depending on the instrument or relay, and on the distance between the transformer and the instrument it is feeding:
- 5A secondary is used when instruments or relays are close to the transformer, ie less than 10m (30ft).
- 1A secondary is preferably selected when the distance between the current transformer and the instrument transformer or the relay is above 10m (30ft). Joule losses by wire resistance are 25 times higher with 5A than with 1A.